วันศุกร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของชุมชน

 1. แผนที่ชุมชน




2. ประวัติชุมชน

          ชุมชนตันหยงมะลิตั้งอยู่ตำบลสุไหงโก-ลก อ.สุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส ห่างจากตัวอำเภอสุไหงโก-ลกประมาณ 2 กิโลเมตรเส้นทางที่จะไปอำเภอแว้งและอำเภอสุคีริน จะต้องผ่านชุมชนตันหยงมะลิ มีแม่น้ำสุไหงโก-ลก ซึ่งห่างจากชุมชนตันหยงมะลิประมาณ 400 เมตร มีบ้านเรือนทั้งซ้าย-ขวา เป็นที่ดินระหว่างหมู่บ้านมะลิวัลย์ถึงสะพานเข้าในเมือง ต้องโดยสารรถรับจ้าง 2 ครั้ง ในสมัยนั้น มีสองเส้น ทางบกและทางน้ำ  เส้นทางถนน ความกว้าง 3 เมตร ทางน้ำก็คดเคี้ยวลำบาก จึงนิยมใช้รถจี๊ป และรถจักรยาน ซึ่งถนนเป็นโคลนรับจ้างส่งของไปแว้ง เช่น หมู ข้าวสาร น้ำตาลและสิ่งของต่างๆ เมื่ออดีตน้ำจะท่วมระหว่างถนน ระหว่างโค้ง โรงเรียนรังผึ้ง จนถึงสะพานป่าช้าจีนซึ่งปัจจุบันไม่นิยมเส้นทางเรือแล้ว หันมาใช้รถจักรยานยนต์และรถยนต์เป็นพาหนะแทน ชุมชนตันหยงมะลิเป็นชุมชนที่มีความเป็นอยู่ง่ายๆ เป็นพี่เป็นน้องกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกันเป็นชาวไทยนับถือศาสนาพุทธซึ่งตั้งถิ่นฐานมานาน ส่วนหนึ่งและอีกส่วนหนึ่งมาจากมาเลเซีย

          ผู้นำชุมชนในสมัยนั้น นายดำ สุวรรณราช ซึ่งมีบ้านอยู่ที่สนามกอล์ฟวิวอดีตวัดตันหยงมะลิ  ร่วมกับราษฎรได้สร้างกุฏิขึ้นในที่ดินของนายขวัญ ซึ่งเป็นที่ธรณีสงฆ์ 18 ไร่ สมัยนั้นมีพระอยู่ไม่มากและไม่มีน้ำดื่ม จึงไปสร้างวัดใกล้ริมคลอง ต่อมานายขวัญได้มอบที่ดินให้สร้างวัดจึงได้ย้ายมาอยู่ที่ของนายขวัญ 8 ไร่กว่า สร้างวัดแรกชื่อวัด สุวรรณราช เปลี่ยนเป็นวัดตันหยงมะลิและต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2521 กระทรวงศึกษาธิการอำเภอสุไหงโก-ลกได้  ประกาศตั้งเป็นวัดขวัญประชา เพื่อให้สอดคล้องกับผู้ที่มอบที่ดินให้วัดในอดีต

          โรงเรียนวัดตันหยงมะลิมี 2 ชั้นอาคารไม้ ทางเทศบาลได้ซื้อที่ดินของนางพรรณี ทองชาติ สร้างโรงเรียนขึ้นมาเป็นเทศบาล 2 ห่างจากวัดขวัญประชา 200 เมตร ซึ่งต่อมารัฐบาลเล็งเห็นความสำคัญของบ้านเมืองซึ่งต้องติดต่อกันไปมา จึงสร้างถนนและสะพานขึ้นมาใหม่   โรงเรียนประจำชุมชนตันหยงมะลิตั้งอยู่ในวัดตันหยงมะลิ  ซึ่งชาวบ้านเรียกขานกันมา เปิดเรียนตั้งแต่ ชั้น ป.1- ป.4 ครูใหญ่ในสมัยนั้นชื่อ นายประพันธ์ สกุลแก้ว โรงเรียนหลังนี้ทรุดโทรมไม่สามารถซ่อมแซมได้จึงรื้อถอนและไปสร้างใหม่ ซึ่งอยู่ห่างจากวัดประมาณ 200 เมตร ชื่อว่า โรงเรียนเทศบาล 2

          เมื่อประมาณพศ.2501 ได้มีการขยายถนนให้กว้างขึ้นกว่าเดิมมีการขุดคูน้ำสองข้างถนนปรับพื้นที่ตั้งแต่สะพานใกล้สุสานชาวจีนถึงชุมชนตันหยงมะลิได้ทิ้งช่วงการพัฒนาไปนาน เส้นทางเช้าชุมชนมีความยากลำบากในการเดินทางพาหนะที่ใช้ส่วนใหญ่จะเป็นจักรยานและมีรถจี๊ปเล็ก วิ่งผ่านเป็นบางวัน ช่วงฤดูฝนน้ำท่วมถนนทางเข้าชุมชนน้ำท่วมขังประมาณ 3 - 7 วัน พาหนะทุกชนิดผ่านไม่ได้จนกระทั่งปี 2511 ได้ขยายถนนให้กว้างขึ้น บ้านเรือนติดถนนต้องรื้อถอนให้ไกลจากเส้นทางหลวงประมาณ 5 เมตร พัฒนามาเรื่อยๆจนถึงปี 2556 เส้นทางสะดวกสบายตราบจนทุกวันนี้   

3. พื้นที่ทั้งหมด                      ตารางกิโลเมตร

4. อาณาเขต

          ชุมชน  ตันหยงมะลิ  ตั้งอยู่ในเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส            มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้

                   ทิศเหนือ          ติดต่อกับ        ชุมชนบือเร็งใน                   .

                   ทิศใต้             ติดต่อกับ        ชุมชนสวนมะพร้าว                .

                   ทิศตะวันออก     ติดต่อกับ        แม่น้ำสุไหงโก-ลก                  .

                   ทิศตะวันตก      ติดต่อกับ         ชุมชนเจริญสุข                                        

5. ลักษณะภูมิประเทศ  เป็นพื้นที่ราบต่ำติดแม่น้ำสุไหงโก-ลก

6. จำนวนประชากรรวมทั้งสิ้น   589   คน แยกเป็น ชาย   281   คน หญิง   308   คน

    6.1 ผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปี บริบูรณ์ขึ้นไป) รวมทั้งสิ้น      129     คน แยกเป็น

          ชาย      56     คน หญิง      63     คน

    6.2 คนพิการ รวมทั้งสิ้น      16     คน แยกเป็น

          ชาย      7     คน หญิง      9     คน

7. จำนวนครัวเรือน      227     ครัวเรือน

8. การประกอบอาชีพ

    8.1 อาชีพหลักของครัวเรือน  (3 ลำดับแรก)

          8.1.1 อาชีพ     ค้าขาย          ร้อยละ      42.64     .

          8.1.2 อาชีพ     รับจ้างทั่วไป    ร้อยละ      38.40     .

          8.1.3 อาชีพ     ธุรกิจส่วนตัว    ร้อยละ       3.49     .

          8.1.4 อาชีพ                        ร้อยละ                        

    8.2 อาชีพเสริมหรืออาชีพรอง

          8.2.1 อาชีพ                        ร้อยละ            

          8.2.2 อาชีพ                        ร้อยละ            

          8.2.3 อาชีพ                       ร้อยละ            

          8.2.4 อาชีพ                        ร้อยละ            

9. ผู้ว่างงาน จำนวน      53     คน  แยกเป็น ชาย      25     หญิง       28      .

    9.1 กลุ่มอายุ 13-18 ปี จำนวน                  คน

    9.2 กลุ่มอายุ 19-24 ปี จำนวน                  คน

    9.3 กลุ่มอายุ 25 ปีขึ้นไป จำนวน                คน

10. ชุมชนมีรายได้      23,852,200      บาท/ปี รายจ่าย       22,016,000      บาท/ปี

      มีหนี้สิ้น.           -         บาท/ปี

11. รายได้เฉลี่ยของประชากร (ตามเกณฑ์ จปฐ. ปี 2562 )   จำนวน      59,481.80     บาท/ปี

      ครัวเรือนยากจน (รายได้ไม่ถึง 38,000 บาท คน/ปี  ปี  2562     จำนวน      4     ครัวเรือน

12. จำนวนกลุ่มกิจกรรม/อาชีพ   จำนวน            กลุ่ม  ดังนี้

      12.1 ชื่อกลุ่มกิจกรรม/อาชีพ                              จำนวนสมาชิก             คน

      12.2 ชื่อกลุ่มกิจกรรม/อาชีพ                               จำนวนสมาชิก             คน

      12.3 ชื่อกลุ่มกิจกรรม/อาชีพ                             จำนวนสมาชิก             คน

      12.4 ชื่อกลุ่มกิจกรรม/อาชีพ                             จำนวนสมาชิก             คน

13. กองทุนในชุมชน มีจำนวน                กองทุน  ดังนี้

      13.1 ชื่อกองทุน                                    มีจำนวน          กองทุน

              มีงบประมาณ                      บาท

      13.2 ชื่อกองทุน                                   มีจำนวน          กองทุน

              มีงบประมาณ                      บาท

      13.3 ชื่อกองทุน                                   มีจำนวน          กองทุน

              มีงบประมาณ                      บาท

      13.4 ชื่อกองทุน                                   มีจำนวน          กองทุน

              มีงบประมาณ                       บาท

14. ข้อมูลความต้องการพัฒนาฝีมือแรงงานของประชาชน

      14.1 ชื่อกิจกรรม/อาชีพ                                    จำนวน           คน

      14.2 ชื่อกิจกรรม/อาชีพ                                    จำนวน           คน

      14.3 ชื่อกิจกรรม/อาชีพ                                    จำนวน.           คน

      14.4 ชื่อกิจกรรม/อาชีพ                                    จำนวน              คน

15.ข้อมูลคมนาคม/สาธารณูปโภค

          15.1 การเดินทางเข้าชุมชน

                  - ถนนบ้านตันหยงมะลิ

          15.2 สาธารณูปโภค

                  - แหล่งอุปโภค/บริโภค  น้ำประปา

                  - ไฟฟ้า  227 ครัวเรือน

          15.3 แหล่งน้ำ

                  - แหล่งน้ำตามธรรมชาติ

                  - ลำห้วย จำนวน               แห่ง กว้าง                   ยาว                .ลึก                                

                  - คลอง   จำนวน               แห่ง กว้าง                   ยาว                ลึก                 .

                  - สระ     จำนวน              แห่ง กว้าง                   ยาว                .ลึก                            

                  - แหล่งน้ำที่สร้างขึ้นในหมู่บ้าน

                  - บ่อบาดาล  จำนวน                    แห่ง

                  - สระน้ำ จำนวน               แห่ง กว้าง                   ยาว                .ลึก             

ข้อมูลสภาพทั่วไปของชุมชน

-         ที่ทำการชุมชน      1     แห่ง

-         ที่อยู่                                                                                                 .

-         โรงเรียน (ระดับ)  ประถมศึกษา  จำนวน  2     แห่ง  ชื่อ  โรงเรียนเทศบาล 2 และโรงเรียนรังผึ้ง.    

-         วัด (ระบุ)              1                              แห่ง  ชื่อ   วัดขวัญประชา                      .

-         มัสยิด/บาลาเซาะ            -                       แห่ง   ชื่อ                                             .

-         หอกระจายข่าว                                       แห่ง  

-         ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ชุมชน                       แห่ง

-         ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน  (กศน.)               แห่ง

-         สนามกีฬาชุมชน            1                        แห่ง  ชื่อ    สวนมิ่งขวัญประชา                .

-         การเกษตร                                             แห่ง     

-         เรือ                                                      ลำ

 

 

 

 

 

 

 

 

คณะกรรมการชุมชน

ที

ชื่อ-สกุล

ตำแหน่ง

ที่อยู่

เบอร์โทร

1.

นายชื่น  ทิพรัตน์

ประธานชุมชน

28 ถ.บ้านตันหยงมะลิ

093-6950162

2.

นางสมพิศ ว่องไว

รองประธานชุมชน

6 ถ.บ้านตันหยงมะลิ

089-6571560

3.

นางสาวเสงี่ยม เรืองสุวรรณ์

เลขานุการ

14 ถ.บ้านตันหยงมะลิ

 

4.

นายสมศักดิ์  อำไพ

เหรัญญิก

37/57 ถ.บ้านตันหยงมะลิ

 

5.

นายชาญยุทธ์ บุญสม

ประชาสัมพันธ์

13 ถ.บ้านตันหยงมะลิ

 

6.

นายเพรียง แซ่หลี

ปฏิคม

23 ถ.บ้านตันหยงมะลิ

 

7.

นายอรุณ พันธเมธี

ส่งเสริมอาชีพ

37/73 ถ.บ้านตันหยงมะลิ

 

8.

นายดุสิต ว่องไว

สาธารณสุข

37/42 ถ.บ้านตันหยงมะลิ

 

9.

นางสาวเจนจิรา บุญสม

ส่งเสริมกีฬาศาสนา

39/63 ถ.บ้านตันหยงมะลิ

 

10

นางสาวปัทมา สังคทรัพย์

ที่ปรึกษา

28 ถ.บ้านตันหยงมะลิ

 

11

นางสาวประไพ บุญสม

ที่ปรึกษา

32 ถ.บ้านตันหยงมะลิ

 

 

 

 

คณะกรรมการ อสม.

ลำดับ

ชื่อ - สกุล

อายุ

ตำแหน่ง

ที่อยู่

โทรศัพท์

1

นางสมพิศ     ว่องไว

 

ประธาน อสม.

6 ถ. บ้านตันหยงมะลิ

089-6571560

2

นางอ้อยทิพย์  บุญลึก

 

อสม.

39/64  ถ. บ้านตันหยงมะลิ

081-0991120

3

นส.ปัทมา  สังคทรัพย์

 

อสม.

28 ถ.บ้านตันหยงมะลิ

081-5358452

4

นางสุภาพร  ศรีสุวรรณ์

 

อสม.

78 ถ.เจริญเขต  ซ.22

084-8581342

5

นายสงวน   สุระบำ

 

อสม.

74  ถ. เจริญเขต  ซอย 22

081-5998241

6

นส.ประไพ  บุญสม

 

อสม.

32 ถ.บ้านตันหยงมะลิ

 

 

ส่วนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูล

2.1 การวิเคราะห์ปัจจัยภายในหรือสภาพแวดล้อมภายใน จะทำให้ชุมชนทราบถึงความสามารถหรือความ   

      เป็นตัวตนของชุมชน

      (1) จุดอ่อน

            (1.1)   ชุมชนค่อนข้างจะอยู่ห่างจากตัวเมือง            

            (1.2)                                                       

      (2) จุดแข็ง

            (2.1)  ความสามัคคีของสมาชิกในชุมชน                  

            (2.2)  มีที่ทำการชุมชน สามารถใช้เป็นสถานที่ประชุมหรือจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชนได้     

 

2.2 การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกหรือสภาพแวดล้อมภายนอก จะทำให้ชุมชนทราบถึงโอกาสและอุปสรรค

      (1)  โอกาส

             (1.1) ได้รับการสนับสนุนจากเทศบาลในด้านต่าง ๆ    

             (1.2)                                                      

      (2)  อุปสรรค

             (2.1)                                                      

             (2.2)                                                      

 

2.3  การวิเคราะห์ปัญหาของชุมชน

ลำดับ

ความ

สำคัญ

ของ

ปัญหา

 

 

ปัญหา

 

 

สาเหตุของปัญหา

 

ข้อมูลข้อบ่งชี้ ขนาดและความรุนแรงของปัญหา

 

 

แนวทางการแก้ไขปัญหา

1

ยังไม่มีชื่อซอย

ยังไม่ได้จัดทำป้ายชื่อซอยในชุมชน

 

จัดทำและติดตั้งป้ายชื่อซอยในชุมชน

2

ได้รับข้อมูลข่าวสารไม่ทั่วถึง

ชุมชนไม่มีเสียงตามสายทำให้การประชาสัมพันธ์ข่าวในชุมชนค่อนข้างลำบากและไม่ทั่วถึง

 

ติดตั้งระบบเสียงตามสายในชุมชน

3

ไม่มีอาชีพ/ไม่มีรายได้

ชาวบ้านในชุมชนไม่มีงานทำ/ตกงาน

 

จัดทำโครงการฝึกอบรมอาชีพให้สมาชิกในชุมชน

4

ความพร้อมของที่ทำการชุมชน

ที่ทำการชุมชนยังก่อสร้างไม่เรียบร้อย

 

ปรับปรุงต่อเติมที่ทำการชุมชน(ปูกระเบื้องและทำรั้วกั้นหลังที่ทำการฯ)

    5

การเลี้ยงสัตว์เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว

 

 ไม่มีงบประมาณในการจัดซื้อพันธุ์สัตว์

 

 

ส่งเสริมการเลี้ยงวัวและจัดหาวัวพันธุ์พื้นเมืองให้แก่สมาชิกในชุมชน

 

 

 

 

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของชุมชน

  1. แผนที่ชุมชน 2. ประวัติชุมชน           ชุมชนตันหยงมะลิตั้งอยู่ตำบลสุไหงโก-ลก อ.สุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส ห่างจากตัวอำเภอสุไหงโก-ลกประมาณ 2 ...